ttb 56-1 One Report 2021 (TH)

บริบทความเสี่ยง ผลกระทบและมาตรการจัดการ • ธนาคารได้ทําการวิเคราะห์ความเสี่ยงและประเมินความ เสี่ยงและโอกาสที่อาจเกิดจากนวัตกรรมทางเทคโนโลยี ซึ่งจะช่วยให้ธนาคารสามารถเพิ่มคุณค่าโซลูชันที่จะส่งมอบ ให้กับลูกค้าและช่วยให้สามารถระบุลูกค้าที่มีความเสี่ยงได้ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ไม่อาจปฏิเสธได้เลยว่าการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จะสร้างผลกระทบอย่างมีนัยส� ำคัญต่อสิ่งแวดล้อมทาง ธรรมชาติและกระตุ้นให้เกิดผลกระทบที่ร้ายแรงต่อสังคม และเศรษฐกิจของแต่ละประเทศ โดยการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศถือเป็นวาระหลักของรัฐบาล เจ้าหน้าที่รัฐ และองค์กรระหว่างประเทศหลายองค์กร ทั้งนี้ ได้มีการ ส่งเสริมให้มีการออกข้อก� ำหนด การประเมิน การเปิดเผย ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดย บางแห่งยังมีการออกกฎข้อบังคับเพื่อบรรเทาผลกระทบ ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอีกด้วย การบริหารจัดการความเสี่ยงเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศในเชิงรุกจึงมีความส� ำคัญยิ่งในการช่วยให้ ธนาคารสามารถระบุและตอบสนองต่อความเสี่ยงได้อย่าง ทันท่วงที และความผิดพลาดในการปรับการด� ำเนินงาน จะท� ำให้ธนาคารต้องเผชิญกับความเสี่ยงทางการเงิน และที่ไม่ใช่ทางการเงินในทางอ้อมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ นอกจากนี้ ธนาคารยังถูกตั้งค� ำถามจากสาธารณะและ กลายเป็นผู้ที่ต้องรับผิดต่อผลกระทบทางลบที่เกิดกับ สิ่งแวดล้อมและสังคมอันเนื่องมาจากการด� ำเนินงาน ของธุรกิจที่ได้รับสินเชื่อกู้ยืมเงินทุนจากธนาคาร การให้ สินเชื่อกับผู้กู้ที่ไม่มีความรับผิดชอบไม่เพียงก่อให้เกิด ความเสี่ยงทางด้านชื่อเสียง แต่ยังสร้างผลกระทบต่อ ความยั่งยืนในระยะยาวในแง่ของมูลค่าของสินทรัพย์และ การท� ำก� ำไรของธนาคารดังนั้นธนาคารจึงมีบทบาทส� ำคัญ ต่อการแก้ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และ เป็นผู้เอื้อต่อการเปลี่ยนผ่านไปสู่เศรษฐกิจคาร์บอนต� ำ ผ่านผลิตภัณฑ์และบริการทางการเงินด้วย • • • • • ธนาคารมีนโยบายด้านสิ่งแวดล้อม สังคมและความ รับผิดชอบ (นโยบาย ESR) ซึ่งระบุกรอบการด� ำเนินงาน และข้อก� ำหนดในการบริหารจัดการความเสี่ยงทางด้าน สิ่งแวดล้อมและสังคมในการให้สินเชื่อในเชิงพาณิชย์ ธนาคารอยู่ระหว่างการประเมินความเสี่ยงด้านการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการวิเคราะห์พยากรณ์ แนวโน้มโดยมีแผนที่จะน� ำกรอบการรายงานของคณะท� ำงาน ด้านการเปิดเผยข้อมูลทางการเงินเกี่ยวกับสภาพภูมิอากาศ (TCFD) มาใช้ภายในปี 2567 ธนาคารได้แสดงความมุ่งมั่นในการยุติการให้สินเชื่อ แก่โครงการโรงไฟฟ้าถ่านหิน กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ การส� ำรวจและด� ำเนินการเหมืองถ่านหินการด� ำเนินธุรกิจ เกี่ยวกับทรายน� ำมัน และการตัดไม้เพื่อการพาณิชย์ใน ป่าดิบชื้นปฐมภูมิ ดังที่ได้ระบุในรายการสินเชื่อต้องห้าม ในนโยบาย ESR ธนาคารยังพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีความรับผิดชอบต่อ สิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง เช่น สินเชื่อสีเขียว สินเชื่อที่ เชื่อมโยงกับการด� ำเนินงานเพื่อความยั่งยืน พันธบัตร สีเขียว เป็นต้น ค้นหาและร่วมมือกับธุรกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและ มีความยั่งยืนเพื่อขยายพอร์ตสินเชื่อสีเขียวและช่วยเหลือ ลูกค้าให้สามารถเปลี่ยนผ่านธุรกิจให้มีความเป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน 114 ธนาคารทหารไทยธนชาต จำ �กัด (มหาชน)

RkJQdWJsaXNoZXIy ODEyMzQ3